ข้าพเจ้านายนฤเบศร์ หินไชยศรี ประเภทบัณฑิตจบใหม่ ปฏิบัติงานประจำตำบลยายแย้มวัฒนา อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ ตามโครงการยกเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ
ในเดือนธันวาคมทางโครงการได้จัดทำการรายงานผลการดำเนินงาน การติดตามและการประเมินผลรายตำบล โดยมีหัวข้อในการเก็บข้อมูลดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของตำบล
- รายชื่อที่ปรึกษาประจำตำบล
- รายชื่ออาจารย์ประจำตำบล
- รายชื่อผู้ปฏิบัติงานแยกบัณฑิต ประชาชน นักศึกษา รอบแรกและรอบเพิ่มเติม
- รายละเอียดบริบทตำบลพร้อมแผนที่ตำบล
- ราชชื่อวิทยากรแยกเป็นภายใน ภายนอก สาขาที่เชี่ยวชาญของวิทยากร
- บทสรุปผลการดำเนินที่รี่ของหัวหน้าโครงการประจำตำบล
- อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
ส่วนที่ 2 การบริหารโครงการและการดำเนินการโตรงการ
- ชื่อตำบล รหัสตำบล คณะ
- ชื่อโครงการ
- ปัญหาความต้องการของชุมชนในตำบล สังเคราะห์เรียงตามความสำคัญ
- วัตถุประสงค์โครงการ
- การพัฒนากลไกการทำงานร่วมกันของตำบลในการพัฒนาเชิงพื้นที่
- การดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามรูปแบบกิจกรรมที่เข้าไปดำเนินการในพื้นที่ที่รับผิดชอบผลก่อนการพัฒนา กระบวนการพัฒนาและหลังการพัฒนา (พร้อมรูปถ่ายกิจกรรม แยกตามประเภทกิจกรรม
6.1 การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP / อาชีพอื่น 1)
6.2 การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว)
6.3 การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Heath Care/ เทคโนโลยีต้านต่าง ๆ)
6.4 การส่งเสริมต้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ซุมชน)
- กิจกรรมที่ดำเนินการยกระดับพร้อมรายละเอียตภาพถ่าย
- สรุปผลการปฏิบัติงาน การใช้จ่ายงบประมาณแต่ละกิจกรรม
ส่วนที่ 3 การประเมินศักยภาพตำบล
- การประเมินศักยภาพตำบลของโครงการพัฒนาตำบล 16 เป้าหมายตังนี้ (นำเสนอผลก่อนการพัฒนา
กระบวนการพัฒนาและหลังการพัฒนา)
1.1 องค์กรชุมชน ตำบล มีสมรรถนะในการจัดการสูง
1.2 การจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรม
1.3 ความสามารถวิเคราะห์ รายรับ-รายจ่าย
1.4 สัมมาชีพเต็มพื้นที่
1.5 เกษตรพอเพียง
1.6 สระน้ำประจำครอบครัว
1.7 การจัดการวิสาหกิจชุมชน
1.8 การฝึกอบรมทักษะอาชีพ
1.9 การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน
1.10 ตำบลปลอดภัย
1.11 การพัฒนาคุณภาพกลุ่มเปราะปางอย่างทั่วถึง
1.12 ระบบสุขภาพตำบล
1.13 ศูนย์การเรียนรู้ตำบล
1.14 ระบบความยุติธรรมชุมชน
1.15 ระบบสื่อสารชุมชน
1.16 ตำบลทำความตึ
สรุปผลศักยภาพตำบลเดิมที่ผ่านมาเป็นอย่างไรอยู่ระตับใดและปัจจุบันเป็นอย่างไรอยู่ระดับใค
- การประเมินการดำเนินการโครงกรยกระตับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการและตัวชี้วัดตำบล 14 ตัวชี้วัดพร้อมอธิบายตังนี้
2.1 โจทย์การพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนภายใต้ 16 เป้าหมาย
2.2 โครงการพัฒนาตำบลแบบกำหนดประซากรเป้าหมายและงานที่ชัตเจน
2.3 ผู้ปฏิบัติการหลัก (Key Actors) และผู้ขับเคลื่อนปฏิบัติการในพื้นที่
2.4 เทคโนโลยีและเครื่องมือที่ไต้ผลดี
2.5 นวัตกรรมการแก้ปัญหา (เชิงระบบ เชิงกระบวนการ เชิงเทคนิค)
2.6 การมีส่วนร่วมของประชากรกลุ่มเป้าหมายและ 4 องค์กรหลักในตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท้องที่ องค์กรชุมชนและหน่วยงานรัฐ)
2.7 ผลการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของกลุ่มประชากรเป้าหมาย
2.8เรื่องเด่น (กิจกรรม บริการ ผลิตภัณฑ์ ผลผลิต)
2.9 คนเด่น (Champions)
2.10 ข้อมูล (การสำรวจการฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ข้อมูลการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม)
2.11 การก่อร่างสร้างตัวเป็นธุรกิจเพื่อสังคม (Startups/Social Enterprise)
2.12. รูปแบบการแก้ปัญหาความยากจนในระตับตำบลจากกระบวนการสรุปบทเรียนและประสบการณ์ของโครงการ
2.13 รูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลและองค์กรภายในตำบลเพื่อแก้ปัญหาความยากจน(Resource Mobilization) จากโครงการ
- 14 แหล่งเรียนรู้และหลักสูตรการเรียนรู้ของชุมชนที่มาจากเรื่องเด่น คนเด่น จนได้รับการยอมรับเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการแก้ปัญหาความยากจน
ส่วนที่ 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะโครงการการยกระตับเศรษฐกิจและสังศมรายตำบลแบบบูรณาการ
- สรุปผลที่ได้รับในการดำเนินโครงการฯ
- องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ได้จากการยกระตับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ
- หน่วยงานภาคีเครือข่ายที่ร่วมพัฒนาตำบล
- รายได้จากการพัฒนาตำบลก่อนและหลังการดำเนินการ
- ผลลัพธ์เชิงเศรษฐกิจ
- ผลลัพธ์เชิงสังคม
- จำนวนบทความและ Clip VDO
- ปัญหาและอุปสรรค
- ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 5 ผู้ปฏิบัติงาน
- รายละเอียดชื่อ ที่อยู่ การติดต่อของผู้ปฏิบัติงาน
- ข้อมูลการพัฒนาทักษะ
- องค์ความรู้ที่ได้รับของผู้ปฏิบัติงาน
ส่วนที่ 6 การต่อยอดพัฒนาตำบล พร้อมประมินวิเคราะห์ตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio-Circular-Green
Economy) ที่เป็นเป้าหมายหลักในการพัฒนาประเทศ เข่น
- ต้านผลิตภัณฑ์
– พัฒนาด้านคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์
– พัฒนาต้านช่องทางการตลาด e-Marketing
- ด้านการท่องเที่ยว
– พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
– พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงเกษตร (เกษตรสีเขียวแบบยั่งยืน)
ส่วนที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูล CBD
วิเคราะห์ CBD ด้วย Power แนบภาพกราฟพร้อมอธิบายประเด็นจุตเด่น จุตต้อย และที่ต้องการพัฒนา
ต่อยอด
ส่วนที่ 8 ความสำเร็จของโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ
ภาคผนวก
และมีการลงพื้นที่เก็บข้อมูล CBD เพิ่มเติม โดยมีหัวข้อในการเก็บข้อมูลดังนี้
1.ผู้ที่ย้ายกลับบ้าน เนื่องจากสถานการณ์โควิด
2.แหล่งท่องเที่ยว
3.ที่พัก / โรงแรม
4.ร้านอาหารในท้องถิ่น
5.อาหารที่น่าสนใจประจำถิ่น
6.เกษตรกรในท้องถิ่น
7.พืชในท้องถิ่น
8.สัตว์ในท้องถิ่น
9.ภูมิปัญญาท้องถิ่น
10.แหล่งน้ำในท้องถิ่น