1. หน้าแรก
  2. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  3. HS04 - ตำบลผไทรินทร์ อำเภอลำปลายมาศ
  4. HS04 โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตาบลแบบบูรณาการ 1 ตาบล 1 มหาวิทยาลัย จากมหาวิทยาลัยสู่ตาบลเพื่อสร้างรากแก้วให้ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ประจาเดือน กรกฎาคม 2564

HS04 โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตาบลแบบบูรณาการ 1 ตาบล 1 มหาวิทยาลัย จากมหาวิทยาลัยสู่ตาบลเพื่อสร้างรากแก้วให้ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ประจาเดือน กรกฎาคม 2564

หลักสูตร : HS04 โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตาบลแบบบูรณาการ 1 ตาบล 1 มหาวิทยาลัย
จากมหาวิทยาลัยสู่ตาบลเพอื่ สร้างรากแก้วให้ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ประจาเดือน กรกฎาคม
2564
ข้าพเจ้า นางสาวจุรีพร วิเศษศรี ผู้ปฏิบัติงานประเภทประชาชน ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ประจาหลักสูตร
ให้ลงพื้นที่ ณ ตา บลผไทรินทร์ อา เภอลา ปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมอบรบด้านการจักร
สานและการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ณ หอประชุมองค์การบริหารส่วนตาบลผไทรินทร์ ใน
วันที่26 มิถุนายน2564เวลา 09.00น.เป็นต้นไป

เมื่อวันที่26มิถุนายน 2564 ข้าพเจ้าและทีมผู้ปฏิบัติงานพร้อมตัวแทนแต่ละหมู่บ้านเข้าร่วมอบรมด้านการจักร
สานและการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19ซึ่งจะมีท่านนายกองค์การบริหารส่วนตา บลผไทรินทร์
นายสมร พินิจดวง ได้กล่าวเปิดงานและให้โอวาสแก่ทีมผู้ปฎิบัติงานและตัวแทนแต่ล่ะหมู่บ้านจากนั้นจะมี
คุณหมอประจำตำบลผไทรินทร์ คุณ ฉัตรติญา จาปาทิพย์ พยาบาลวิชาชีพ ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการแพร่
ระบาดของโควิด19ซึ่งมีวิธีการป้องกันดังนี้
-ล้างมือบ่อยๆ โดยใช้สบู่และน้า หรือเจลล้างมือที่มีส่วนผสมหลักเป็นแอลกอฮอล์
-รักษาระยะห่างที่ปลอดภัยจากผู้ที่ไอหรือจาม
-สวมหน้ากากอนามัยเมื่อเว้นระยะห่างไม่ได้
-ไม่สัมผัสตา จมูก หรือปาก
-ปิดจมูกและปากด้วยข้อพับด้านในข้อศอกหรือกระดาษชาระเมื่อไอหรือจาม
-เก็บตัวอยู่บ้านเมื่อรู้สึกไม่สบาย
-หากมีไข้ ไอ และหายใจลาบากโปรดไปพบแพทย์

ต่อมาเป็นการอบรบด้านการจักสานตะกร้าหวายโดยมีตัวแทนของกลุ่มชาวบ้าน คือนาย สว่าง บึ่งจันทร์ ได้อธิบายวิธีการทาและจัดหาวัสดุที่ต้องใช้ในการจักรสานตะกร้าหมาย ขั้นตอนและวิธีการทาตะกร้า เริ่มจากการคิดแบบ ออกแบบรูปทรง เช่น ทรงสี่เหลี่ยม ทรงกลม แล้วทาฐานตามรูปแบบขึ้นลูกกรงเป็นชั้นๆ พันขอบบนจูงนางปากขอบ ตึงวงจับหรือมือจับพันงวงจับหรือมือจับตกแต่งโครงสร้างให้ได้มาตรฐานแล้วนาหวายเทียมที่จัดเตียมไว้มาสานตามรูปแบบที่ออกแบบไว้ให้สวยงามตามต้องการ วัสดุ 1. หวายหางหนู (เส้นเล็ก) 2. หวายน้า (เส้นใหญ่) 3. ไม้เจลย 4. หวายใหญ่ 5. เพนกเปรียบ 6. ตะปูเข็ม อุปกรณ์ 1. ฆ้อนตีตะปู (ขนาดเล็ก) 2. แป้นเจาะรู (ทาจากเหล็ก) 3. มีดตอก 4. ลูกกรง 5. เหล็กปลายแหลม ซึ่งอุปกรณ์เล่านี้จะเป็นทางอาจารย์ประจาหลักสูตรที่จะจัดหามาให้กลุ่มชาวบ้าน เพื่อสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันและงานอาชีพของตนเอง ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครัวเรือนและชุมชน

หลังจากที่เข้าร่วมอบรบเสร็จข้าพเจ้าและทีมผู้ปฏิบัติงานพร้อมอาจารย์ประจาหลักสูตรได้ไปทาความสะอาดบริเวณวัดบ้านชีสวา เพื่อเป็นการบาเพ็ญประโยชน์การปลูกฝั่งการทาความดีสู่สังคม

และเมื่อวันที่9กรกฎาคม2564 จ้าพเจ้าได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลด้าน พืชในท้องถิ่น อาหารในท้องถิ่น เกษตรกรในท้องถิ่น แหล่งน้าในท้องถิ่น ณ หมู่บ้านโคกซาด หมู่1และหมู่9 เพื่อหาข้อมูล เพิ่มเติมจากเดือนมิถุนายนให้ได้มากที่สุดและได้เข้าร่วมทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ที่วัดโคกซาดโดยมีผู้ใหญ่บ้าน นาย อุดมพรรณ ยางไธสง ซึ่งเป็นผู้นาพร้อมชาวบ้านร่วมแรงรวมใจกันทำความสะอาดบริเวณรอบวัดและยังเป็นการสร้างความความเข็มแข็งสามัคคีกันในชุมชน

ทั้งนี้ข้าพเจ้ายังได้เข้าร่วมการแข่งขัน Hackathon ซึงได้เรียนรู้วิธีการการแก้ปัญหาและจัดทาคลิปวีดีโอเข้าประกวดในครั้งนี้

สรุปผลการลงพื้นที่ ตาบลผไทรินทร์ ประจาเดือน กรกฎาคม

1.กิจกรรมอบรมด้านการจักรสานและการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่มจัดส่งเสริม และพัฒนาการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคลและกลุ่มบุคคลเป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข็มแข็งให้กับเศรษฐกิจในชุมชน

2.ด้านการลงพื้นที่สารวจข้อมูลเพิ่มเติมในหมู่บ้านโคกซาด หมู่1และหมู่9โดยเก็บข้อมูลด้านพืชในท้องถิ่น อาหารในท้องถิ่น เกษตรกรในท้องถิ่น แหล่งน้าในท้องถิ่น เพิ่มเติ่มจากเดือนที่ผ่านมาให้ได้ข้อมูลมากที่สุด

อื่นๆ

เมนู