ข้าพเจ้า นายอนุชา กำลังรัมย์ ผู้ปฏิบัตรงานประเภทบัณฑิตจบใหม่ ตำบลแสลงพัน อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ หลักสูตร : HS06 คณะมนุษยศาสต0ร์และสังคมศาสตร์
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมแบบบูรณนาการ 1ตำบล 1 มหาวิทยาลัย
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล เพื่อสร้างรากแก้วให้ประเทศ) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
1. ประชุมออนไลน์ ผ่าน Google Meet ระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการและผู้ปฏิบัติงาน U2T ในตำบลแสลงพันเพื่อวางแผนการปฏิบัติงานในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 วัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมพัฒนาตำบลแสลงพัน การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (ปุ๋ยอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพ) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนในตำบลแสลงพันเน้นการใช้น้ำหมักชีวภาพ แทนปุ๋ยเคมีในการปลูกผักปลอดสารพิษทานเองเพื่อช่วยลดรายจ่ายในครัวเรือน ให้สามารถพึ่งตนเองได้ ซึ่งในการทำน้ำหมักยังเป็นการนำเศษอาหารที่เหลือจากการรับประทาน เศษใบไม้ เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาสร้างประโยชน์ให้ชุมชน และยังเป็นการช่วยลดขยะภายในชุมชน โดยมีแนวทางในการปฏิบัติงาน ดังนี้
1.1 จัดทำรายงานการปฏิบัติงานรูปเล่มรายงาน บทที่ 1-5 ให้แบ่งกลุ่มผู้ปฏิบัติงานจัดทำในแต่ละบทจัดทำให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 17 ธันวาคม 2564
1.2 การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น การทำน้ำหมักชีวภาพ การเพาะเห็ดและแปรรูปผลิตภัณฑ์
1.3 กำหนดวันส่งบทความและแบบรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือนธันวาคม 2564 ดังนี้
– วันที่ 7-8 ธันวาคม ส่งบทความตรวจพร้อมแก้ไข
– วันที่ 8 ธันวาคม ส่งแบบรายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมแก้ไข
– วันที่ 9 ธันวาคม ส่งแบบรายงานผลการปฏิบัติงานที่สำนักงานคณะ ไม่เกิน 12:00น.
1.4 การลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการของครัวเรือนต้นแบบ สำรวจความต้องการของเมล็ดพันธุ์ผักเพิ่มเติม การให้คำแนะนำและการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำหมักชีวภาพสูตรต่าง ๆ และการทำปุ๋ยชีวภาพจากก้อนเชื้อเห็ดของสมาชิกในชุมชนทั้ง 3 แห่ง บ้านหนองตาดตามุ่ง บ้านบุขี้เหล็กและบ้านบุก้านตง
1.5 การพัฒนาทำเว็ปเพจ Facebook ของตำบลแสลงพัน การลงโฆษนาขายของออนไลน์ การโปรโมทสินค้าของชุมชนตำบลแสลงพัน
1.6 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ทำให้หลากหลายหลักสูตร ได้มีการออกแบบผลิตภัณฑ์ของนำมักหมักชีวภาพจำนวน 4 สูตร มีน้ำหมักชีวภาพสูตรฮอร์โมนไข่ น้ำหมักชีวภาพสูตรจุลินทรีย์หน่อกล้วย น้ำหมักชีวภาพสูตรอีเอ็ม (EM) น้ำหมักชีวภาพสูตรฮอร์โมนผลไม้
1.7 วางแผนการจัดทำบัญชีธนาคารของแสลงพัน ที่ได้จากการขายผลิตภัณฑ์น้ำมักชีวภาพ
![]() |
![]() |
ภาพประกอบการอบรม
2. การลงพื้นที่พัฒนาตำบลแสลงพัน การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร (ปุ๋ยอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพ) เป็นกิจกรรมลงพื้นที่ทำปุ๋ยชีวภาพจากก้อนเห็ด ได้มีการแบ่งโซนการทำกิจกรรม 3 แห่ง
– วันที่ 30 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 จัดสถานที่ทำกิจกรรมที่บ้านของผู้ใหญ่วีระชัย แซกรัมย์ ผู้ใหญ่บ้านบ้านหนองตาดตามุ่ง หมู่ 5
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ภาพประกอบ
– วันที่ 4 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 จัดสถานที่ทำกิจกรรมที่ศาลาประชาคมบ้านบุขี้เหล็กพัฒนา หมู่ที่ 17 และในช่วงบ่ายจัดสถานที่ทำกิจกรรมที่บ้านบุก้านตงพัฒนา
หมู่บ้านที่รับผิดชอบในการทำกิจกรรมในครั้งนี้ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบหมู่บ้านโคกใหม่พัฒนา ตำบลแสลงพัน อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ ได้มีการติดต่อประสานงานกับสมาชิกทั้ง 3 คน สอบถามความต้องการเมล็ดพันธุ์ทางการเกษตรครัวกับตัวแทนจิตอาสา/ครอบครัวต้นแบบ ซึ่งเมล็ดพันธุ์พืชทางการเกษตรที่ตัวแทนต้องการ ได้แก่ ต้นพริก ผักชี กวางตุ้ง คะน้า มะเขือ ผักบุ้ง
การดำเนินกิจกรรมในวันที่ 30 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 และวันที่ 4 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 ด้มีการให้ความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากก้อนเชื้อเห็ด และวิธีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากก้อนเชื้อเห็ด ปุ๋ยหมักชีวภาพจากก้อนเชื้อเห็ด เป็นการนำเอาก้อนเชื้อเห็ดเก่าที่หมดอายุการงอกของเห็ดจำนวนมากมาต่อยอดทำประโยชน์ในการทำปุ๋ยหมัก สามารถที่จะช่วยกำจัดขยะจากก้อนเห็ดเก่าจำนวนมาก ปุ๋ยหมักท่ำด้จากก้อนเชื้อเห็ดจะเป็นปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพดีมาก จะมีธาตุอาหารที่บำรุงพืชได้มากว่าปุ๋ยหมักทั่วไป เป็นธาตุอาหารส่วนที่เหลือจากก้อนเห็ดที่เติมลงไปในช่วงบ่มเชื้อก้อนเห็ด มีทั้งงธาตุอาหารหลัก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแทสเซียม ธาตุอาหารรอง แม็กนีเซียม แคลเซียม และธาตุอาหารเสริมอีกหลายชนิด นอกจากนี้ยังได้ธาตุอาหารอินทรีย์จากปุ๋ยคอกที่นำมาผสมในขบวนการการทำปุฝ่ยยหมักซึ่งมีอินทรีย์ที่ใช้ในการบำรุงดินได้ดี เหมาะสำหรับการนำไปใช้กับพืชทั่วไป พืชสวน ไม้ดอกไม้ประดับและพืชผักสวนครัว
ส่วนผสมของวัสดุและวิธีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากก้อนเชื้อเห็ด
ส่วนผสมของวัสดุ ในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 100 กิโลกรัม
• ก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้ง 60 กิโลกรัม
• มูลไก่ (ไข่) 20 กิโลกรัม
• มูลวัว 20 กิโลกรัม
• สารเร่ง พด.1 10 กรัม
• สารเร่ง พด.3 25 กรัม
• น้ำปุ๋ยหมักชีวภาพ 1 ลิตร
• กากน้ำตาล 5 กิโลกรัม
วิธีการทำ
1) คัดเลือกก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งที่จะนำมาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ต้องเลือกก้อนที่ไม่เน่าเสีย ไม่มีลักษณะเป็นสีดำหรือมีสีเขียว ไม่มีน้ำแฉะ
และถ้าผึ่งตากแดดได้จะดีมาก
2) การเตรียมก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งก่อนจะนำมาผสมหมักปุ๋ยอินทรีย์ ให้แกะก้อนนางฟ้าเหลือทิ้งออกจากถุงแล้วนำมาทำให้ร่วนซุยเสียก่อน
หากมีปริมารการผลิตในปริมาณมาก ๆ ควรใช้เครื่องตีผสม
3) เตรียมส่วนผสมของมูลไก่และมูลวัว ควรใช้มูลไก่ไข่มากกว่ามูลไข่เนื้อ เนื่องจากมูลไก่ไข่จะมีธาตุอาหารในปริมาณที่มากกว่า
มูลไก่เนื้อที่มีแกลบผสมมาด้วย และเลือกมูลวัวที่ร่วนแห้ง ไม่ควรเลือกมูลวัวที่เปียก หรือมีลักษณะจับตัวเป็นแผ่น
4) คลุกเคล้าก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าที่ร่วนซุยกับมูลไก่ มูลวัว ให้เข้ากัน
5) เติมน้ำปุ๋ยหมักชีวภาพ และกากน้ำตาล ผสมให้เข้ากัน
6) เตรียมสารละลายสารเร่ง พด.1 โดยชั่งสารเร่ง พด.1 จำนวน 10 กรัม ละลายด้วยน้ำ 2 ลิตร ผสมให้เข้ากัน แล้วทิ้งไว้ 10 นาที
ก่อนนำไปเทลงในเครื่องผสม
7) ปรับความชื้นของปุ๋ยอินทรีย์ที่ผสมแล้วให้อยู่ในช่วงร้อยละ 60-70 โดยใช้น้ำ แล้วใช้มือกำส่วนผสม หากแบมือแล้วส่วนผสมไม่
เป็นก้อน ร่วนแตก แสดงว่ายังมีความชื้นไม่เหมาะสม ถ้าส่วนผสมเป็นก้อน ไม่ร่วนแตกก็ถือว่าได้ความชื้นที่ต้องการ พร้อมที่จะนำไปหมัก
8) นำปุ๋ยอินทรีย์ที่ผสมเรียบร้อยแล้วเทลงในคอกหมักปุ๋ย หรือกองบนพื้น ปิดปากคอกหมักด้วยพลาสติกสีดำ แล้วหมักเป็นระยะเวลา45-50 วัน พร้อมพลิกกลับกองปุ๋ยอินทรีย์ทุก ๆ 7 วัน
9) เติมสารเร่ง พด.3 หลังสิ้นสุดการหมัก แล้วหมักต่อเป็นระยะเวลา 7 วันก่อนนำไปใช้
นอกจากให้ความรู้และวิธีการทำปุ๋ยหมักแล้วก็ยังได้มีการมอบเมล็ดพันธุ์ผักเพิ่มเติมให้กับชาวบ้านที่มาเข้ารับการอบรมและพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำหมักชีวภาพ การทำบรรจุภณฑ์สินค้าของตำบลแสลงพันให้น่าสนใจ
ในช่วงบ่ายของวันที่อบรม ได้มีการติดตามความก้าวหน้าเยี่ยมเยือนครัวเรือนต้นแบบ วิถีพอพียง สร้างอาชีพ และรายได้ มีการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปรับปรุงบำรุงดิน ซึ่งเป็นการช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ การปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยหมัก ใช้เพื่อเพิ่มหรือยกระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ช่วยปรับปรุงโครงสร้างดินให้ดีขึ้น ทำให้ดินมีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชมากยิ่งขึ้น ได้ร่วมกิจกรรมทำแปลงผักปลูกผักกับชาวบ้านต้นแบบ ทำดีด้วยหัวใจ ทำดีเพื่อพ่อ เนื่องในวันสำคัญวันพ่อแห่งชาติและวันสำคัญอย่างคือเป็น วันดินโลก ที่บ้านบุขี้เหล็กใหม่พัฒนาและบ้านบุก้านตง
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
ภาพประกอบ
3. การทำตลาดออนไลน์ ตำบลแสลงพัน ได้ มีการออกแบบเนื้อหาคอนเทนต์ผลิตภัณฑ์ให้น่าสนใจ การทำภาพโฆษณา ทำวิดีโอเพื่อโปรโมทสินค้า ของตำบลแสลงพันผ่านเพจ Facebook ให้ผู้อื่นได้รับรู้และเกิดความสนใจ จนกระทั่งเข้ามาใช้บริการหรือซื้อสินค้าของเรา
ภาพประกอบ
4. ได้รับมอบหมายทำกราฟฟิกแผนที่การท่องเที่ยวในตำบลแสลงพันและรับหน้าที่เป็นช่างภาพเก็บบันทึกภาพและวีดีโอถ่ายรีวิวสินค้าตัดต่อทำสื่อให้ความรู้โปรโมทลงเพจเกี่ยวกับปุ๋ยหมักชีวภาพและการนำวัสดุเหลือใช้มาทำให้เกิดผลผลิตทางการเกษตรตามหลักปรัญญาเสรษฐกิจพอเพียงและรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไปของพื้นที่พัฒนาได้มีการลงพื้นที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ ๆเพื่อจัดทำรายงาน ดังนี้ ประวัติทั่วไป แผนที่ชุมชน ข้อมูลสำคัญรายตำบล ข้อมูลสมาชิกชุมชน ข้อมูลทุนทางวัฒนธรรม และพืชสมุนไพรในชุมชน รวมถึงพัฒนาเพจสินค้าขายดี ผลิตภัณฑ์แปรรูปแสลงพันให้ดูทันสมัยละน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
ภาพประกอบ
สรุปภาพรวมรายตำบล
ตำบลแสลงพันเป็นตำบลที่มีสภาพแวดล้อมที่ดี มีหนองน้ำไว้ใช้ในการอุปโภค บริโภคมีทั้งแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและแหล่งน้ำที่สร้างขึ้นเองไว้ใช้ในยามฤดูแล้ง ด้านป่าชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เนื่องจากพื้นที่ส่วนมากในตำบลเป็นพื้นที่ที่ใช้ในการทำนา จึงทำให้พื้นที่ในตำบลไม่มีทรัพยากรป่าไม้ที่สำคัญแต่จะมีไม้บางชนิด เช่น ยูคาลิปตัส ซึ่งราษฎรปลูกไว้เพื่อใช้ประโยชน์ ป่าไม้ที่พบในพื้นที่จะมีน้อยมาก เช่น ป่าไม้บ้านแสลงพัน สถานที่ที่พบ บ้านแสลงพัน ตำบลแสลงพัน ด้านการประกอบอาชีพ ส่วนมากประกอบอาชีพเกษรกร รองลงมา คือ ทำสวนเลี้ยงสัตว์ ด้านการศึกษา มีสถานศึกษา 7 โรงเรียน ด้านสาธารณสุข โรงพยาบาลประจำตำบล 2 ที่ การค้าขาย ชาวบ้านขายปลีก-ส่ง อาหารตามสั้ง ร้านขายอุปกรณ์ก่อสร้าง ร้านค้าเฟ่ มีวัฒธรรมประเพณีที่ดีงาม เช่น บุญบั้งไฟ ประเพณีบุญผะเหวดฟังเทศน์มหาชาติ ทำบุญวันออกพรรษา มีพืชสมุนไพรมากมายหลายชนิดที่หาได้ทั่วไปในหมู่บ้าน
5. การดำเนินงานรายตำบล TSI มุ่งสู่ความพอเพียง สรุปภาพรวม
ข้อมูลพื้นที่ตำบลแสลงพัน ประกอบด้วยหมู่บ้าน 17 หมู่บ้าน 2,657 ครัวเรือน มีวัดจำนวนทั้งหมด 10 แห่ง โรงเรียนจำนวน 10 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลจำนวน 2 แห่ง สรุปการพัฒนาพื้นที่ได้ตามรูปภาพ ดังนี้
![]() ![]() |
ภาพ การดำเนินงานรายตำบล TSI
6.การจัดทำหลักสูตรระยะสั้น ทำการทำปุ๋ยหมักชีวภาพแต่ละสูตร
– ปุ๋ยหมักชีวภาพสูตรฮอร์โมนไข่
– ปุ๋ยหมักชีวภาพสูตรฮอร์โมนผลไม้
– ปุ๋ยหมักชีวภาพสูตรจุลินทีย์หน่อกล้วย
– ปุ๋ยหมักชีวภาพสูตรอีเอ็ม (EM)
ผลงานออกแบบกราฟฟิก(Graphic design) ผลิตภัณฑ์ต่างๆและแผนที่การท่องเที่ยวรวมถึงภาพถ่ายกิจกรรมต่างๆในการลงพื้นที่ในชุมชนและสร้างเพจตลาดออนไลน์(สินค้าขายดี ผลิตภัณฑ์แปรรูปแสลงพัน) ตัดต่อภาพ ตัดต่อวีดีโอโปรโมทสินค้า
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
นำกราฟฟิกที่ออกแบบ Out put เป็นสติ๊กเกอร์ติดในผลิตภัณฑ์สินค้าดังรูปข้างต้น
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
ถ่ายทำการลงพื้นที่และตัดวีดีโอกิจกรรมให้ความรู้ลงเพจลิงค์ด้านล่าง↓
https://www.facebook.com/watch/?v=282310127018978