ดิฉันนางสาวธัญญธร บัวศรี  ประเภทประชาชน ตำบลหนองยายพิมพ์ อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์  หลักสูตรการส่งเสริมเเละพัฒนาการผลิตปุ๋ยอัดเม็ด HS01

  วันที่ 4 ธันวาคม 2564 ดิฉันเเละกลุ่มผู้ปฏิบัติตำบลหนองยายพิมพ์ได้ร่วม อบรมหลักสูตรการเลี้ยงไส้เดือน เพื่อนำมาผลิตเป็นปุ๋ย โดยมีกำนันประจำตำบลหนองยายพิมพ์ เป็นผู้บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยจากไส้เดือนการนำไส้เดือนดินมาเลี้ยงเพื่อกำจัดมูลฝอยอินทรีย์ ณ แหล่งกำเนิด  ได้มีการสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม นอกจากได้ประโยชน์จากการกำจัดขยะอินทรีย์ ในครัวเรือนแล้ว ยังเป็นสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน ซึ่งปัจจุบันชุมชน มีการนำนโยบายดังกล่าวมาปฏิบัติ โดยได้มีการนำมาใช้ในการจัดการมูลฝอยอินทรีย์ในครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผลไม้ เศษผัก เศษพืชสด ในแต่ละวันมูลฝอยดังกล่าวหากมีตกค้างในชุมชน จะทำให้เน่าเหม็นและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค อาทิ เช่น หนู แมลงวัน เมื่อมีการกำจัด ณ แหล่งกำเนิดจะช่วยลดปัญหาการเน่าเหม็นและเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากสัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรครวมทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการเก็บขนและนำไปกำจัด

การเลี้ยงไส้เดือนจะช่วยปรับสภาพดิน กำจัดขยะ และได้มูลไส้เดือนทำเป็นปุ๋ย อินทรีย์ธรรมชาติคุณภาพดีมาใช้ในฟาร์ม เพราะไม่มีผลข้างเคียงต่อพืช ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ใช้ได้กับพืชทุกชนิด เช่น ไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้ยืนต้น กล้วยไม้ ผักสวนครัวหรือนำไปเพาะต้นกล้าได้การนำไส้เดือนดินมาเลี้ยงเพื่อกำจัดมูลฝอยอินทรีย์ ณ แหล่งกำเนิด ได้มีการสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม นอกจากได้ประโยชน์จากการกำจัดขยะอินทรีย์ ในครัวเรือนแล้ว ยังเป็นสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน  มีการนำนโยบายดังกล่าวมาปฏิบัติ โดยได้มีการนำมาใช้ในการจัดการมูลฝอยอินทรีย์ในครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผลไม้ เศษผัก เศษพืชสด ในแต่ละวันมูลฝอยดังกล่าวหากมีตกค้างในชุมชน จะทำให้เน่าเหม็นและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค อาทิ เช่น หนู แมลงวัน เมื่อมีการกำจัด ณ แหล่งกำเนิดจะช่วยลดปัญหาการเน่าเหม็นและเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากสัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรครวมทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายของทางเทศบาลในการเก็บขนและนำไปกำจัด

วิธีการเลี้ยง

– เริ่มจากเตรียมทำปุ๋ยหมักเพื่อเป็นที่อยู่สำหรับไส้เดือน(Bedding)

– ใช้ส่วนผสม ของมูลวัว เศษเปลือกผักผลไม้ ฟาง ขี้เลื่อย ใบไม้ ขุยมะพร้าว นำมา

– คลุกแล้วหมักรวมกันประมาณ 1-2 เดือน ระหว่างนั้นให้รดน้ำพอชุ่มชื้น เมื่อได้แล้ว ใส่ปุ๋ยหมักลงในภาชนะที่จะเลี้ยงไม่ว่าจะเป็นกะละมัง บ่อซีเมนต์ เป็นต้นจากนั้น ปล่อยไส้เดือนลงไป

– ให้อาหารไส้เดือนและรดน้ำสม่ำเสมอ เมื่อครบกำหนด 20 วันของรอบการเพาะเลี้ยงนั้น จะหยุดการ

– รดน้ำต่อเนื่องไปอีก 10 วัน เพื่อเอามูลไส้เดือน

สายพันธุ์ของไส้เดือนดิน

  1. ยูดริลลัสยูจีนิแอ ( Eudrilus eugeniae ) ชื่อสามัญ African Night Crawler

     ไส้เดือนดินสายพันธุ์ African Night Crawler มีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่ สามารถเคลื่อนที่ได้รวดเร็ว มีการเลี้ยงไส้เดือนดินสายพันธุ์นี้กันอย่างกว้างขวาง ไส้เดือนดินสายพันธุ์นี้มีความเหมาะสมมากในการนำมาผลิตเป็นโปรตีนสำหรับเลี้ยงสัตว์ เนื่องจากมีขนาดใหญ่และมีอัตราการแพร่พันธุ์สูงมาก แต่มีข้อเสียตรงที่ไส้เดือนดินสายพันธุ์นี้ไม่ค่อยทนทานต่อุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม เลี้ยงยากและเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ยากด้วย สำหรับในด้านการนำมาใชจัดการขยะพบว่า ไส้เดือนสายพันธุ์มีความสามารถในการย่อยสลายขยะในปริมาณมากได้อย่างรวดเร็ว 

3.อายซิเนียฮอร์เทนซิส ( Eisenia hortensis ) ชื่อสามัญ European Night Crawler

European Night Crawlers กลายเป็นสายพันธุ์ที่ชื่นชอบสำหรับฟาร์มเลี้ยงไส้เดือน ในความเป็นจริงผู้นำในอุตสาหกรรมฟาร์มไส้เดือนบางคนคาดการณ์ว่าสักวันหนึ่ง European Night Crawlers (ENC) จะได้รับความนิยมมากกว่า Red Worms ยูโรเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการทำปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน โดยลักษณะทั่วไปยูโรมีความคล้ายคลึงกับไส้เดือนสายพันธุ์ไทเกอร์อยู่มาก จะแตกต่างกันอย่างสังเกตุได้ก็คือขนาด ซึ่งยูโรมีขนาดที่ยาวกว่าไทเกอร์แต่ไม่ยาวเท่ากับเอเฟ โดยยูโรมีขนาดปล้องลำตัวประมาณ 130 ข้อปล้อง ในขณะที่ไทเกอร์มีประมาณ 100 ข้อปล้อง และเช่นเดียวกับไทเกอร์ ยูโรนั้นขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว ไส้เดือนยูโรเป็นสายพันธุ์ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากยุโรปจึงค่อนข้างที่จะชอบสภาพอากาศที่เย็น

4.ฟีเรททิมา พีกัวนา ( Pheretima peguana ) ชื่อท้องถิ่น ขี้ตาแร่

ไส้เดือนดินสายพันธุ์ ฟีเรททิมา พีกัวนา เป็นการนำไส้เดือนดินมาเลี้ยงเพื่อกำจัดมูลฝอยอินทรีย์ ณ แหล่งกำเนิด เป็นนโยบายที่นายกเทศมนตรีเมืองหนองสำโรง ได้มีการสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม นอกจากได้ประโยชน์จากการกำจัดขยะอินทรีย์ ในครัวเรือนแล้ว ยังเป็นสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน ซึ่งปัจจุบันชุมชนแสงทอง มีการนำนโยบายดังกล่าวมาปฏิบัติ โดยได้มีการนำมาใช้ในการจัดการมูลฝอยอินทรีย์ในครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผลไม้ เศษผัก เศษพืชสด ในแต่ละวันมูลฝอยดังกล่าวหากมีตกค้างในชุมชน จะทำให้เน่าเหม็นและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค อาทิ เช่น หนู แมลงวัน เมื่อมีการกำจัด ณ แหล่งกำเนิดจะช่วยลดปัญหาการเน่าเหม็นและเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากสัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรครวมทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายของทางเทศบาลในการเก็บขนและนำไปกำจัดไส้เดือนดินสีแดงที่มีลำตัวกลมขนาดปานกลาง โดยมีขนาดใกล้เคียงกับใส้เดือนสายพันธุ์ แอฟริกัน ไนท์ครอเลอร์ ไส้เดือนดินสายพันธุ์ ฟีเรททิมา พีกัวนา เป็นไส้เดือนดินสีแดงที่พบได้ทั่วไปในแถบเอเซีย ซึ่งในประเทศไทยก็พบเช่นกัน ไส้เดือนดินสายพันธุ์นี้เป็นไส้เดือนดิน ที่มีลำตัวขนาดกลาง อาศัยอยู่ในบริเวณที่มีอินทรียวัตถุมาก เช่นใต้กองปุ๋ยหมัก ใต้กองมูลวัวในโรงเลี้ยงวัวนม ใต้เศษหญ้าที่ตัดทิ้ง โดยจะอาศัยอยู่บริเวณผิวดินไม่ขุดรูอยู่ในดินที่ลึกเหมือนกับไส้เดือนพันธุ์สีเทา ที่จะอาศัยอยู่ในสวนผลไม้ หรืออยู่ในชั้นดินที่ลึกลงไป ไส้เดือนพันธุ์นี้โดยทั่วไปในภาคเหนือ เรียกว่า “ขี้ตาแร่” ซึ่งชาวบ้านมักใช้เป็นเหยื่อตกปลา ลักษณะพิเศษของไส้เดือนดินสายพันธุ์นี้ คือมีความตื่นตัวสูงมาก เมื่อถูกจับตัวจะดิ้นอย่างรุนแรงและเคลื่อนที่หนีเร็วมาก นอกจากนี้การนำไปใช้กำจัดขยะอินทรีย์ พบว่าไส้เดือนดินสายพันธุ์นี้สามารถกินขยะอินทรีย์จำพวกเศษผัก ผลไม้ หมดอย่างรวดเร็ว ซึ่งจาการทดลองนำไส้เดือนสายพันธุ์ขี้ตาแร่ มากำจัดขยะ จะถูกย่อยหมดภายใน 2-3 วัน นอกจากไส้เดือนดินสายพันธุ์นี้กินอาหรแก่งแล้วยังสามารถขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว

จากการปฏิบัติงาน ที่ผ่านมา ทำให้ดิฉันได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นทีม ความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อีกทั้งยังได้รู้จักขั้นตอนการทำปุ๋ยจากไส้เดือน การเลี้ยงไส้เดือน การนำไส้เดือนดินมาเลี้ยงเพื่อกำจัดมูลฝอยอินทรีย์ ได้มีการสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม นอกจากได้ประโยชน์จากการกำจัดขยะอินทรีย์ ในครัวเรือนแล้ว ยังเป็นสร้างรายได้จากการจำหน่ายปุ๋ยมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน ซึ่งปัจจุบันชุมชนหนองยายพิมพ์ มีการนำนโยบายดังกล่าวมาปฏิบัติ โดยได้มีการนำมาใช้ในการจัดการมูลฝอยอินทรีย์ในครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผลไม้ เศษผัก เศษพืชสด ในแต่ละวันมูลฝอยดังกล่าวหากมีตกค้างในชุมชน จะทำให้เน่าเหม็นและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค อาทิ เช่น หนู แมลงวัน เมื่อมีการกำจัด ณ แหล่งกำเนิดจะช่วยลดปัญหาการเน่าเหม็นและเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากสัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรครวมทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายของทางเทศบาลในการเก็บขนและนำไปกำจัด

 

อื่นๆ

เมนู