ID02_แนวทางออกแบบผลิตภัณฑ์ (โลโก้) โดยอาศัยอัตลักษณ์ในชุมชน ตำบลโคกย่าง
เขียนโดย นายพูนสุข เอี่ยมศิลาภัณฑ์
ชื่อบทความ : แนวทางออกแบบผลิตภัณฑ์ (โลโก้) โดยอาศัยอัตลักษณ์ในชุมชน ตำบลโคกย่าง
พื้นที่: ตำบลโคกย่าง อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
ชื่อผู้เขียน: นายพูนสุข เอี่ยมศิลาภัณฑ์ (ประเภท ประชาชน)
สืบเนื่องจากเดือนที่ผ่านมามีการอบรมเรื่อง มาตรฐานผลิตภัณฑ์ และ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ทางอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์สินีนาฎ รามฤทธิ์จึงมีการนัดประชุมผู้ปฎิบัติงาน ร่วมประชุมหารือ ระดมสมองค้นหาอัตลักษณ์ในชุมชนเพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ (โลโก้) สินค้าที่จะผลิตในชุมชน เช่น เสื่อกก ผลิตภัณฑ์จากเห็ด โดยอาศัยข้อมูลดังนี้.
สภาพภูมิศาสตร์ ตำบลโคกย่าง จากที่ได้สอบถามผู้เฒ่า ผู้แก่ประจำตำบลได้เล่าว่า เมื่อก่อนสถานที่แห่งนี้เป็นป่า เป็นเนิน หรือที่คนพื้นถิ่นเรืยก โคก เนื่องจากสภาพเป็นป่ามีสัตว์ชุกชุมเมื่อล่าสัตว์ได้ก็นำมาย่างหรือทำอาหารที่บริเวณนี้
วัฒนธรรม-การกิน ข้าวสวย,น้ำพริก,เห็ดต่าง ๆ
การแต่งกาย ชาย-ผ้าขาวม้า ,หญิง-นุ่งผ้าซินผ้าไหม
ประเพณีท้องถิ่น การเทศมหาชาติ (การเผาข้าวหลาม) (ก่อเจดีย์ทราย)
เกษตรกรรม ปลูกข้าวหอมมะลิภูเขาไฟ (รวงข้าว)
ผลิตภัณฑ์ชุมชน เสื่อกก, ผ้าขาวม้า
สิ่งปลูกสร้าง ศาลตาเสาร์ (ศาลประจำหมู่บ้าน) เสาคล้องช้าง,ศิลาแลง รูปภาพประกอบ:
กิจกรรมการเก็บข้อมูลการประเมิณ SROI-U2T ของ อว.
การลงพื้นที่เก็บแบบสอบถาม การประเมิณผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ภายใต้โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย (U2T) ได้รับหัวข้อที่ 8 ผู้แทนตำบล
รูปภาพประกอบ
โดยกลุ่ม: คณะเทคโนโลยีอุตสากรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
พื้นที่ที่รับผิดชอบ: ตำบลโคกย่าง อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
ชื่อโครงการ: การยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์ ตำบลโคกย่าง อำเภอประโคนชัย จังหวัด