โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ )
(ประจำเดือนตุลาคม)
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ จากมหาวิทยาลัยสู่ตำบล เพื่อสร้างรากแก้วให้ประเทศ ดิฉันนางสาวบัณฑิตา อดุลรัมย์ ประเภท กพร. รหัส ID04 ตำบลบ้านกรวด อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
ดำเนินการสนับสนุนการเอามื้อสามัคคีลงแขกเกี่ยวข้าว ณ ศูนย์เรียนรู้ “โคก หนอง นา”ลงพื้นที่สนับสนุนการเอามื้อสามัคคีลงแขกเกี่ยวข้าว ณ ศูนย์เรียนรู้ “โคก หนอง นา พช.” แปลงนางบาง ปินะโต บ้านสระปะคำ หมู่ที่ 9 ตำบลพรสำราญ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ และ แปลงนางสุภีร์ ชาตำแย บ้านกอกโคก หมู่ 2 ตำบลคูเมือง อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์เพื่อสนับสนุนการเก็บเกี่ยวผลผลิตในนาข้าวที่ได้ทำการเพาะปลูกในห้วงเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา
🌿 กิจกรรมการลงแขกเกี่ยวข้าวในครั้งนี้เป็นการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมที่แสดงออกถึงความรักความสามัคคีในการร่วมมือร่วมใจ โดยมีนักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบและครัวเรือนต้นแบบขับเคลื่อนกิจกรรมตามหลักกสิกรรมธรรมชาติของโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
🌶 นอกจากนี้ได้เยี่ยมชมการขับเคลื่อนกิจกรรมภายในแปลง ซึ่งทางครัวเรือนได้มีการต่อยอดและขยายผลในรูปแบบต่างๆ อาทิเช่น การสร้างกระท่อมปลายนา การปลูกผักสวนครัวเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร เพื่อเป็นจุดที่ให้ความรู้และแบ่งปันให้แก่ประชาชนที่มีความสนใจเข้ามาศึกษาเรียนรู้ในการขับเคลื่อนกิจกรรมใน “โคก หนอง นา พช.” อย่างเป็นรูปธรรม ณ แปลงของนางบาง ปินะโต บ้านสระปะคำ หมู่ที่ 9 ตำบลพรสำราญ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
กิจกรรมการลงแขกเกี่ยวข้าวในครั้งนี้เป็นการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมที่แสดงออกถึงความรักความสามัคคีในการร่วมมือร่วมใจ โดยมีนักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบและครัวเรือนต้นแบบขับเคลื่อนกิจกรรมตามหลักกสิกรรมธรรมชาติของโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” และเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน นพต. นพร. และชาวบ้านกว่า 30 คน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน เยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆ ภายในศูนย์ และร่วมกันทำน้ำยาเอนกประสงค์แบ่งปันให้กับคนในชุมชนได้นำไปใช้ในครัวเรือน กิจกรรมการลงแขกเกี่ยวข้าวในครั้งนี้เป็นการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมที่แสดงออกถึงความรักความสามัคคีในการร่วมมือร่วมใจ โดยมีนักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบและครัวเรือนต้นแบบขับเคลื่อนกิจกรรมตามหลักกสิกรรมธรรมชาติของโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”