ดิฉัน นางสาวปิยฉัตร นารี                                                                                                                                               ประเภทนักศึกษา                                                                                                                                                           ID08 คณะเทคโนโลยีอุตามหกรรม                                                                                                                             ตำบลปราสาท อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์                

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสัมคมรายตำบลแบบบูรณาการ

เป้าหมายที่ 14
ข้อมูลที่จำเป็น
1. ครัวเรือนที่ได้รบความเดือดร้อน (เหตุพิพาทที่ดิน ความรุนแรงในครอบครัว ฉ้อโกง) จำนวน 1 ครัวเรือน 1 ครั้ง(เรื่อง พ่อข่มขืนลูก)
2. ครัวเรือนยากจน ตามนิยามของพื้นที่ จำนวน 160 ครัวเรือน
3. ครัวเรือนที่มีความเสี่ยงรายด้าน (อาชญากรรม ข้อพิพาทที่ดิน ที่อยู่อาศัย ภัยพิบัติ เป็นต้น)
จำนวน 4 ครัวเรือน 4 ครั้ง
(1 ครัวเรือนได้รับความช่วยเหลือจากเทศบาลตลาดนิคม จำนวน 5,000 บาท) (โควิด 1 ครัวเรือน 7คน ช่วย 3,000)
งานเด่น
1. พัฒนากระบวนการ ขั้นตอนของศูนย์ไกลเกลี่ยในการประณีประนอมข้อพิพาทกรณีต่างๆ เช่น ที่ดิน ข้อขัดแย้ง การวิวาท เป็นต้น
2. พัฒนาแผนและการดำเนินการของศูนย์ประสานงานพนักงานคุมประพฤติ ที่ได้รับการฝึกอบรม จากกระทรวง ยุติธรรม
3. กรณีคดียังไม่สิ้นสุดบริการให้คำปรึกษาข้อกฏหมาย กรณีคนยากจนไม่ได้รับความเป็นธรรม เช่น การประสานให้ผู้เสียหายขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรม เช่น ช่วยค่าจ้าง ทนายความ เงินประกันตัวชั่วคราว ค่าตรวจพิสูจน์ ค่าธรรมเนียมศาล เป็นต้น
4. บริการให้ความรู้ด้านกฏหมายเบื้องต้น และให้คำปรึกษาลูกหนี้ กรณีหนี้นอกระบบ และไม่ได้ รับความเป็นธรรม
5. พัฒนาขั้นตอนและกระบวนการดำเนินการแบบมีส่วนร่วมของ OSCC ในการช่วยเหลือเมื่อเกิด การคุกคามหรือถูกกระทำความรุนแรง
6. รณรงค์เรื่องครอบครัวอบอุ่น
กลุ่มประชากรเป้าหมาย กลุ่มประชากรเป้าหมาย
1. ครัวเรือนยากจน
ผู้ดำเนินการหลัก
1. ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. ท้องที่ (ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน) 3. ผู้ทรงคุณวุฒิในหมู่บ้านชุมชน ผู้นำศาสนา 4. ประธานศูนย์ยุติธรรมชุมชน
5. OSCC
6. ศูนย์พัฒนาครอบครัว
ตัวชี้วัด
1. การประเมิณประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(LPA)
2. แบบประเมิณศักยภาพศูนย์ยุติธรรมชุมชน ครัวเรือนยากจน ผู้วางงาน ผู้สูงอายุ ใช้ประโยชน์ และได้รับการดูแลกรณีเกิดข้อพิพาทที่กี่ยวข้องกับกฏหมาย
3. ประชากรกลุ่มเปราะบางได้รับการเฝ้าระวังการถูกกระทำความรุนแรง

กลุ่มองค์กรชุมชน/หน่วยงานในชุชนที่ร่วมดำเนินงาน ท้องถิ่น
1. สภาฯ
2. นายก อปท.
3. ปลัด อปท.
4. สำนักปลัก กองสวัสดิการสังคม 5. ศูนย์พัมนาครอบครัว
ท้องที่
1. กำนัน
2. ผู้ใหญ่บ้าน
3. คณะกรรมการหมู่บ้าน 4. สารวัตกำนัน
หน่วยงานรัฐและเอกชน
1. กลุ่มอาสาสมัครตำรวจบ้าน
2. ศูนย์ยุติธรรมชุมชนประจำหมู่บ้าน 3. ศูนย์ดำรงธรรมประจำตำบล
กลุ่มอาชีพ
1. OSCC
2. สถานีตำรวจ
3. รพ.สต.
4. สำนักงานอำเภอ

อื่นๆ

เมนู