กระผมนายศุภณัฐ บุญทีฆ์ ประเภทประชาชน ผู้ปฏิบัติงานตามโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) ตำบลโนนเจริญ อำเภอบ้านกรวดจังหวัดบุรีรัมย์
เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564 คณะอาจารย์ประจำหลักสูตรและทีมผู้ปฏิบัติงานได้เข้าร่วมประชุม เพื่อพบปะผู้นำชุมชนและรับฟังรายละเอียดของโครงการโดยสรุปอย่างชัดเจน เช่น วัตถุประสงค์ของโครงการ เป้าหมาย แผนงาน กิจกรรม บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล เป็นต้น หลังจากนั้นได้มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการสำรวจศักยภาพตำบล 16 เป้าหมาย โดยกระผมได้รับมอบหมายให้สำรวจเป้ามายที่ 3 สามารสามารถวิเคราะห์ รายรับรายจ่ายของสถาบัน การเงินชุมชน ธนาคารชุมชน ในการให้ข้อมูล ในวันที่ 7-18 กุมภาพันธ์ 2564ดิฉันและทีมงานได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลตามแบบฟอร์ม 01-02 แบบสำรวจเพื่อพัฒนาคุณภาพกลุ่มเปราะบาง ซึ่งได้รับมอบหมาย หมู่บ้าน สายโท 9 ซอย 3 หมู่ 8 เพื่อช่วยประสานงานและชี้แจงรายละเอียดของโครงการกับชาวบ้านก่อนที่จะลงพื้นที่เก็บข้อมูล ซึ่งการเก็บข้อมูลในครั้งนี้เป็นไปอย่างราบรื่น เนื่องจากชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
จากที่สำรวจข้อมูลพบว่าชาวบ้านหมู่บ้านสายโท 9 ซอย 3 หมู่ 8 ตำบล โนนเจริญ อำเภอบ้านกรวด จังหวัด บุรีรัมย์ พบว่าจากกานลงพื้นที่กละเก็บข้อมูลชาวบ้านส่วนใหญ่ชุมชนแต่ล่ะครัวเรือน มีภาระหน้าที่แตกต่างกันออกไป อาทิ เช่น
ครอบครัวมีการ อาชีพเกษตรกรรม ทำ นา ทำไร ทำสวน ส่วนใหญ่ก็จะต้องตื่นแต่เช้า เพื่อไปดูแล ไร่นา พืชสวนและผลผลิตของตนเองที่ได้ทำ การเพราะปูกไว้ บางครัวเรือนมีการทำ เกษตรกรรมควบคู่กับการเลียงสัตว์ เช่น วัว ควาย ก็พอเสริมรายได้จากการขายมลูสัตว์ดังนั้นในปัจจุบัน วัว และ ควาย จึงมีราคาแพง ทำ ให้คนส่วนใหญ่จึงหันมาเลี้ยงวัวและควายมากเพิ่มขึ้น และสำหรับครัวเรือนที่ทำอาชีพสวนยางพารา ในช่วงฤดูปายหนาวจะเข้าฤดูร้อน ก็ถึงช่วงเวลาปิดพักหน้ายาง จึงทำให้ รายได้ของครัวเรือนที่เคยมีลดลง และเกิดการว่างงานขาดรายได้ รายจ่ายเท่าเดิมหรือบางครัวเรือนอาจมีรายจ่ายเพิ่มมากขึ้น อาชีพส่วนใหญ่ของคนในชุมชนคือ เกษตรกรรมเพื่อดำรงชีวิต รายได้เฉลี่ยประมาณ 5000-10000 เดือน/ต่อครัวเรือน ชาวบ้านส่วนใหญ่ในพื้นที่ได้มีการลงทุนในการเกษตรค่อนค่างสูงจึงทำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นเงินหมุนเวียนในครอบครัวไม่เพียงพอ และนี่อาจเป็นสาเหตุหลักและสาเหตุใหญ่ของการกู้ยืมมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการกู้ยืมจากกลุ่มกองทุนหมู่บ้าน หรือจาก ธกส.และหนี้นอกระบบ เป็นต้น นี้อาจเป็นสาเหตุหลังของชาวบ้านในชุมชนส่วนใหญ่เป็นหนี่เพิ่มมากขึ้นเป็นจำนานมาก