ข้าพเจ้า นายพันธ์ณรงค์  รัถยาภิรักษ์ ภาคประชาชน กับเพื่อนร่วมงาน นักศึกษา และบัณฑิตจบใหม่  ได้ลงสำรวจในหมู่บ้านด่าน

อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์  ที่ตั้ง  เทศบาลตำบลบ้านด่าน จัดตั้งเป็นเทศบาลตำบลบ้านด่านตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านด่าน อำเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นเทศบาลตำบลบ้านด่าน เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม  2551

              ที่ตั้ง

ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดบุรีรัมย์  และอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดบุรีรัมย์  ประมาณ  20  กิโลเมตร

โดยมีทางหลวงหมายเลข  219  จากจังหวัดบุรีรัมย์  ผ่านตำบลบ้านด่าน   ออกไปทาง อำเภอสตึก  ซึ่งสามารถเชื่อมต่อไปจังหวัด อื่น ๆ  ได้
เทศบาลตำบลบ้านด่าน มีพื้นที่  1 ตำบล  คือ ตำบลบ้านด่าน  อำเภอบ้านด่าน  จังหวัดบุรีรัมย์  มีพื้นที่ทั้งหมด 49.5 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ   30,000  ไร่

อาณาเขต

ทิศเหนือ            ติดตำบลตูมใหญ่         อำเภอคูเมือง               จังหวัดบุรีรัมย์

และตำบลโนนขวาง    อำเภอบ้านด่าน           จังหวัดบุรีรัมย์

ทิศใต้           ติดตำบลบัวทอง          อำเภอเมืองบุรีรัมย์      จังหวัดบุรีรัมย์

ทิศตะวันออก    ติดตำบลวังเหนือ         อำเภอบ้านด่าน           จังหวัดบุรีรัมย์

และตำบลปราสาท       อำเภอบ้านด่าน           จังหวัดบุรีรัมย์

ทิศตะวันตก     ติดต่อตำบลกลันทา      อำเภอเมืองบุรีรัมย์   จังหวัดบุรีรัมย์

 

โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ ในหมู่บ้าน

ประกอบด้วยหมู่บ้าน 20 หมู่บ้าน/ชุมชน โดยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบ้านด่าน  เต็มทั้งหมด  20  หมู่บ้าน /ชุมชน ได้แก่

หมู่ที่   1    ชุมชนบ้านตะโคง                 หมู่ที่   11   ชุมชนบ้านโคกขาม

หมู่ที่   2    ชุมชนบ้านกระดึง                 หมู่ที่   12   ชุมชนบ้านโนนสว่าง

หมู่ที่   3    ชุมชนบ้านด่าน                   หมู่ที่   13   ชุมชนบ้านหนองทับ

หมู่ที่   4    ชุมชนบ้านโคกวัด                หมู่ที่   14   ชุมชนบ้านโนนเจริญ

หมู่ที่   5    ชุมชนบ้านโนนสวรรค์         หมู่ที่   15   ชุมชนบ้านโพธิ์ทอง

หมู่ที่   6    ชุมชนบ้านนาฝาย                 หมู่ที่   16   ชุมชนบ้านหนองบัวทอง

หมู่ที่   7    ชุมชนบ้านโยนช้า                 หมู่ที่   17   ชุมชนบ้านหัวถนน

หมู่ที่   8    ชุมชนบ้านทุ่งสว่าง                หมู่ที่   18   ชุมชนบ้านระหาร

หมู่ที่   9    ชุมชนบ้านสองห้อง               หมู่ที่   19   ชุมชนบ้านหนองหว้าประชาสรรค์

หมู่ที่   10  ชุมชนบ้านหนองบึง               หมู่ที่   20   ชุมชนบ้านเสม็ด

 

ชุมชนมีครัวเรือน   2,255  ครัวเรือน  มีประชากร  8,518 คน

  1. ครัวเรือน   2,255  ครัวเรือน   มีประชากร  8,518 คน
    • ประชากร 8,518 คน      เป็นผู้ชาย  จำนวน  4,095  คน     เป็นผู้หญิง  4,423  คน

1.2    บุคคลต่างด้าวที่อยู่อาศัยในหมู่บ้าน    68  คน  เป็นชาย  46  คน  , เป็นผู้หญิง  22  คน

สิ่งแวดล้อม  เป็น

  1. ศาสนาสถาน

2.1   วัด/ที่พักสงฆ์/สำนักสงฆ์   รวม           16     แห่ง

2.2     ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/อนุบาล                   5      แห่ง

2.3    โรงเรียนประถมศึกษา                          5     แห่ง

2.4    โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น                2     แห่ง

2.5     โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย           2     แห่ง

2.6     ห้องสมุด/ที่อ่านหนังสือ                       1     แห่ง

2.7     ศูนย์สาธารณสุข/ มูลฐานชุมชน           6     แห่ง

2.8     สนามกีฬาและลาน                              10    แห่ง

2.9     ศูนย์สวนสาธารณะ/สถานที่พักผ่อน     6     แห่ง

2.10   สนามเด็กเล่น                                         6    แห่ง

2.11      สถานที่เก็บผลผลิตทางการเกษตรส่วนร่วม      1   แห่ง

2.12    กิจกรรมธนาคารข้าว                             1    แห่ง

2.13    สถานที่ตากผลผลิตทางการเกษตร        3    แห่ง

  1. ร้านค้า

3.1      ร้านค้าฃายของชำ  /เบ็เตล็ด/ผลิตภัณฑ์ในชุมชน     46  แห่ง

3.2      ร้านค้าสะดวกซื้อ                                   1   แห่ง

3.3      ร้านค้าขายของปัจจัยในการผลิต            2   แห่ง

3.4      ร้านจำหน่ายหรือซ่อมมอเตอร์ไซด์/รถยนต์/รถจักรยานยนต์      2   แห่ง

3.5     ร้านค้าทั่วไป ประชาชนร่วมลงทุน          3  แห่ง

3.6     สถานที่บริการน้ำมันเชื้อเพลิง                 11  แห่ง

3.7     โรงสี                                                       24  แห่ง

อาณาเขต

สภาพภูมิประเทศของตำบลบ้านด่านมีลักษณะเป็นที่ราบ พื้นที่ของเทศบาลตำบลบ้านด่าน อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล ประมาณ  150-180  เมตร และมีแหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ  คือ ลำห้วยตะโคง  ลำห้วยท้องเรือ  สภาพพื้นที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย  และส่วนใหญ่ใช้เป็นพื้นที่ทางการเกษตร


สภาพภูมิอากาศ  ฤดูกาลประกอบด้วย  3  ฤดู  คือ

ฤดูร้อน         เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงเดือนพฤษภาคม

ฤดูฝน          เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมไปจนถึงเดือนตุลาคม

ฤดูหนาว        เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์

เศรษฐกิจ    มีประชาชน  มีพื้นที่ทำกิน  ดังนี้

4     ที่ทำกิน

4.1     มีที่ดินทำกินชองตนแอง และไม่ต้องเช่า   1,448  ครัวเรือน

4.2     ครัวเรือนมีที่ดินทำกินของตนเอง  แต่เช่าเพิ่มบางส่วน       84     ครัวเรือน

4.3     ครัวเรือนไม่มีที่ทำกิน ที่ดิน  ทำกินของตนเองที่ต้องเช่า     46     ครัวเรือน

4.4     ครัวเรือนที่รัฐจัดสรรที่ดินให้   655   ครัวเรือน   พื้นที่รวมทั้งหมด   จำนวน   14,081   ไร่

  1. การดำเนินทางการเกษตร

5.1    ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร  1,282   แห่ง

5.2    ครัวเรือนที่ประกอบเพาะปลา   1,219   แห่ง

5.3    ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพ ทางการเกษตร เพื่อบริโภค และส่วนที่เหลือขาย    22   แห่ง

5.4    ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร แบบผสมผสานหรือตามแนวพระราชดำริ    61   แห่ง

5.5    ครัวเรือนที่ทำการเกษตรปลอดสารพิษหรือเกษตรอินทรีย์     41   แห่ง

    

     

     

  1. การทำนา   มีพื้นที่ทำนาทั้ง     จำนวน   11,763   ไร่
  2. ครัวเรือนที่ทำนา   จำนวน  1,014   ครัวเรือน

6.2    ครัวเรือนทำนาปีละ   หนึ่งครั้ง   453  ครัวเรือน

 

     

 

           

 

 

 

อื่นๆ

เมนู