ข้าพเจ้านางสาวสุวนันท์ ภูเงิน ลูกจ้างโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ ตำแหน่งกพร. ในกลุ่ม ED01 ตำบลถลุงเหล็ก อำเภอเมืองบุรีรัมย์ ได้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งนักพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (นพร.) ณ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ มีหน้าที่ในการนำเข้าข้อมูลการขับเคลื่อนและผลการก้าวหน้าของโครงการต่างๆ รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินในภารกิจงานของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองบุรีรัมย์และลงพื้นที่ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
       เดือนกรกฎาคมนี้ข้าพเจ้าได้มีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

       เอามื้อสามัคคีร่วมกันปลูกต้นไม้ และทำน้ำหมัก ซึ่งได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ตามโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมกระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชน (HLM) ระดับครัวเรือน โดยการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ประกอบด้วย ต้นสัก ต้นพยุง ต้นยางนา ต้นมะพร้าว ต้นขนุน ฯลฯ และทำน้ำหมักเอาไว้ใช้ในครัวเรือน ณ พื้นที่แปลงบ้านไทยสามัคคี หมู่ที่ 19 ตำบลสะแกซำ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์

 

 

       เอามื้อสามัคคีร่วมกันปลูกต้นไม้ และทำน้ำหมัก ซึ่งได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ตามโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมกระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชน (HLM) ระดับครัวเรือน โดยการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ประกอบด้วย ต้นสัก ต้นพยุง ต้นยางนา ต้นมะพร้าว ต้นขนุน ฯลฯ และทำน้ำหมักเอาไว้ใช้ในครัวเรือน ณ พื้นที่แปลงบ้านยาง หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านยาง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์

   

       เอามื้อสามัคคีร่วมกันปลูกต้นไม้ และทำน้ำหมัก ซึ่งได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ตามโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมกระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชน (HLM) ระดับครัวเรือน โดยการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ประกอบด้วย ต้นสัก ต้นพยุง ต้นยางนา ต้นมะพร้าว ต้นขนุน ฯลฯ และทำน้ำหมักเอาไว้ใช้ในครัวเรือน ณ พื้นที่แปลงบ้านศิลาชัย หมู่ที่ 15 ตำบลอิสาณ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์

      

       เอามื้อสามัคคีร่วมกันปลูกต้นไม้ และทำน้ำหมัก ซึ่งได้รับการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ตามโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมกระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชน (HLM) ระดับครัวเรือน โดยการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ประกอบด้วย ต้นสัก ต้นพยุง ต้นยางนา ต้นมะพร้าว ต้นขนุน ฯลฯ และทำน้ำหมักเอาไว้ใช้ในครัวเรือน ณ พื้นที่แปลงบ้านกลันทา หมู่ที่ 2 ตำบลกลันทา อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์

 

 

       ทั้งนี้ในการปฏิบัติงานภายในสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองบุรีรัมย์เป็นไปตามแผนของกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ภายใต้โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ

อื่นๆ

เมนู