ข้าพเจ้า นางสาววิมล เจริญรัมย์ ประเภทบัณฑิตจบใหม่ (หลักสูตร:AG02-(01)ตามโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยสู่ตำบล เพื่อสร้างรากแก้วให้ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
เมื่อวันที่ 16-17 มีนาคม 2564 ข้าพเจ้าและทีมงานทุกคนได้มีการนัดหมายกัน ณ ห้องประชุมขวัญข้าว ตึก 20 มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ เพื่อวิเคราะห์และวางแผนงาน ระดมความคิดช่วยกันแสดงความคิดเห็น โดยมีหัวข้อในการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ 4 ประเด็น ดังนี้
1.จุดเด่น
2.ปัญหา
3.ความต้องการของชุมชน
4.อื่นๆ
ยกตัวอย่าง 3 หมู่บ้านที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายในการลงพื้นที่
บ้านสะยา หมู่ที่ 3
ครัวเรือนจำนวน 70 ครัวเรือน
มีประชากรจำนวน 261 คน ชาย 130 คน หญิง 131 คน
จุดเด่น
– ผ้าไหม
– กระบองเพรช
ปัญหา
– ไฟฟ้าส่องสว่าง
– ถนน
– ระบบน้ำประปา
– ถังขยะ
ความต้องการของชุมชน
– ไฟฟ้าส่องสว่าง
– ถังขยะ
– ส่งเสริมอาชีพ
– พัฒนาหมู่บ้านสู่ความเจริญ
– ถนน
– แหล่งรับซื้อผลิตภัณท์ของชุมชน
อาชีพของคนในชุมชน
– ทำนา
– รับจ้างทั่วไป
– เลี้ยงสัตว์ เช่น วัวควาย หมู เป็ด ไก่
– ปลูกผักสวนครัว
– ค้าขาย
– ปลูกม่อนเลี้ยงไหม
– ปลูกกระบองเพชร
– อื่นๆ
บ้านรุนตะวันออก หมู่ที่ 5
ครัวเรือนจำนวน 125 ครัวเรือน
มีประชากรจำนวน 516 คน ชาย 251 คน หญิง 265 คน
จุดเด่น
– แหล่งท่องเที่ยว “วัดบ้านรุณ”
ปัญหา
– ไฟฟ้าส่องสว่าง
– ปัญหาความยากจน
– ระบบน้ำประปา
– ถังขยะ
ความต้องการของชุมชน
– ไฟฟ้าส่องสว่าง
– ถังขยะ
– ส่งเสริมอาชีพ
– พัฒนาหมู่บ้านสู่ความเจริญ
– พัฒนาระบบน้ำประปา
– แหล่งรับซื้อผลิตภัณท์ของชุมชน
อาชีพของคนในชุมชน
– ทำนา
– รับจ้างทั่วไป
– เลี้ยงสัตว์ เช่น วัวควาย หมู เป็ด ไก่
– ปลูกผักสวนครัว
– ค้าขาย
– ปลูกม่อนเลี้ยงไหม
– โรงสีข้าว
– ปลูกดอกมะลิ
– อื่นๆ
บ้านรวมโชค หมู่ที่ 11
ครัวเรือนจำนวน 81 ครัวเรือน
มีประชากรจำนวน 343 คน ชาย 81 คน หญิง 180 คน
จุดเด่น
– ตะกร้าเครื่องจักสาน
ปัญหา
– ไฟฟ้าส่องสว่าง
– ถนน
– ระบบน้ำประปา
– ถังขยะ
– ยาเสพติด
ความต้องการของชุมชน
– ไฟฟ้าส่องสว่าง
– ถังขยะ
– ส่งเสริมอาชีพ
– พัฒนาหมู่บ้านสู่ความเจริญ
– พัฒนาะบบน้ำประปา
– แหล่งรับซื้อผลิตภัณท์ของชุมชน
อาชีพของคนในชุมชน
– ทำนา
– รับจ้างทั่วไป
– เลี้ยงสัตว์ เช่น วัวควาย หมู เป็ด ไก่
– ปลูกผักสวนครัว
– ค้าขาย
– จักสาน
– ปลูกม่อนเลี้ยงไหม
– อื่นๆ
ลิงค์วีดิโอนำเสนอเพิ่มเติม