BURIRAM RAJABHAT UNIVERSITY  TO TAMBON : BRU2T

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย จากมหาวิทยาลัยสู่ตำบลเพื่อสร้างรากแก้วให้ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์  (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ : U2T)

หลักสูตร: MS04การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าไหมเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน ตำบลสวายจีก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

ชื่อบทความ : MS04ติดตามผลผลิตในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าไหมเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน ตำบลสวายจีก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

ชื่อเจ้าของบทความ นางสาวพรสุดา แก้วชนะ ประเภทบัณฑิตจบใหม่

การปฏิบัติงานในเดือนตุลาคม

โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.สายใจ ทันการ หัวหน้าโครงการ เข้าร่วมประชุม ซึ่งเป็นการประชุมเกี่ยวกับความละเอียด รอบคอบในการปฏิบัติงานและระเบียบการทำงานต่างๆ อีกทั้งมีการทบทวนข้อมูลบริบทชุมชนของคณะปฏิบัติงานแต่ละคน

คณาจารย์และคณะทำงานร่วมประชุมออนไลน์ ในการวางแผนการดำเนินงานเดือนตุลาคม ได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรายงานอุปสรรคปัญหา ในการทำงานและร่วมกันหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงาน เพื่อให้เป็นไปตาม เป้าหมาย และแนวทาง ของโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย จากมหาวิทยาลัยสู่ตำบล

กิจกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน ชุมชนนวัตวิถี การปรับภูมิทัศน์ศูนย์กลางการท่องเที่ยวชุมชนตำบลสวายจีก ณ.บ้านใหม่ หมู่ที่ 4

 

ประวัติความเป็นมาของตำบลสวายจีก

องค์การบริหารส่วนตำบลสวายจีก ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองบุรีรัมย์ มีพื้นที่ประมาณ 58.23
ตารางกิโลเมตร หรือ 36,395 ไร่ โดยมีที่ท าการตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอระยะทางประมาณ 11.กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลอื่น ๆ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ เทศบาลตำบลอิสาณ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ และองค์การบริหารส่วนตำบลสนวน อำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศใต้ ติดต่อกับ เทศบาลตำบลหลักเขต อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เทศบาลตำบลสองชั้น อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนตำบลสะแกซ า อำเภอเมืองบุรีรัมย์ และองค์การบริหารส่วนตำบลเสม็ด อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์

สวายจีก เป็นหมู่บ้าน ๆ หนึ่ง ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอเมืองบุรีรัมย์ มีผู้กล่าวว่า เดิมทีก่อนจะมาเป็นสวายจีก มาจากหนองน้ำทั้งสองเป็นชื่อหมู่บ้าน คือ ตะเปียงสวาย (หนองมะม่วง) และ ตะเปียงเจก (หนองกล้วย)เรียกมาเรื่อย ๆ โดยมีข้อสันนิษฐานว่า ค าว่า สวายจีก เป็นค าที่มาจากภาษาถิ่น (ภาษาเขมร) สวาย แปลว่า มะม่วงส่วนค าว่า จีก นั้น มาจากค าว่า เจก ซึ่งแปลว่า กล้วย รวมเรียกว่า มะม่วงกล้วย ซึ่งสันนิษฐานว่าในท้องถิ่นแห่งนี้มีมะม่วงพันธุ์นี้อยู่ ชาวบ้านสวายจีกมีต านานที่เล่าสืบต่อกันมาว่า เดิมมีชาวบ้านอยู่ 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์ มาตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณหมู่ที่ 1 ทางทิศตะวันออก ส่วนอีกกลุ่มอพยพมาจากจังหวัดนครราชสีมา มาตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสวายจีก หมู่ที่ 17 ในปัจจุบัน และในอีกต านานหนึ่งเล่าต่อกันมาว่ามีบุคคลกลุ่มแรก ๆ ที่มาตั้งบ้านเรือนอยู่ คือ นายสวาย กับ นางเจก ได้อพยพมาจากบ้านสังขะ อำเภอสังขละ จังหวัดสุรินทร์ จากข้อมูลดังกล่าวยังไม่สามารถสรุปได้ว่าเท็จจริงเป็นอย่างไร แต่จากที่นักโบราณคดีได้ศึกษาจาก ศิลาทราย พบว่า เป็นชุมชนทีอพยพมาจากขอมหรือเขมร ซึ่งเป็นเส้นทางผ่านไปยังปราสาทหินเขาพนมรุ้ง และปราสาทหินพิมาย

1.1สภาพภูมิประเทศ

สภาพพื้นที่โดยทั่ว ๆ ของตำบลสวายจีก สภาพพื้นที่ลาดเอียงขึ้นไปทางเหนือ ดินเป็นดินเหนียวดินลูกรัง บางแห่งเป็นหินไม่เหมาะแก่การปลูกพืชไร่ ขึ้นไปทางทิศตะวันออก ดินส่วนใหญ่เป็นดินทรายใช้สำหรับทำนา บาง
แห่งเป็นเนินสามารถปลูกพืชไร่และทำสวนได้บ้าง ทิศใต้ สภาพพื้นที่เป็นเนินต่ า เป็นดินทรายใช้ท านาได้อย่างเดียวทิศตะวันตก สภาพพื้นที่เป็นที่ราบ ดินเป็นดินเหนียว และดินลูกรัง เพาะปลูกทำสวนทำไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่ในตำบลสวายจีกเป็นทางผ่าน ของถนนสายสำคัญหลายสาย เช่น ถนนทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 226 ถนนลาดยาง รพช.บร 11055 และมีพื้นที่ที่มีลำห้วยไหลผ่านช่วงกลางตำบล เรียกว่า ลำห้วยสวาย ประชากรประมาณร้อยละ34 – 40 มีที่นาในเขตชลประทาน สามารถผลิตข้าวส่งขายและมีเพื่อบริโภคอย่างเพียงพอ

1.2 ลักษณะโครงสร้างพื้นฐาน
1.2.1 การคมนาคม
                  การคมนาคมภายในตำบล ใช้การคมนาคมทางบก โดยทางรถยนต์เป็นหลักในการคมนาคม
ติดต่อและขนส่งผลผลิตทางการเกษตร โดยใช้เส้นทางสำคัญ ดังต่อไปนี้ ถนนทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 226 (บุรีรัมย์-สุรินทร์) ถนนลาดยาง รพช.บร 11055 การคมนาคมติดต่อกับอำเภอใกล้เคียง มีถนนลาดยาง รพช.บร

1.2.2 ลักษณะทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทแร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของตำลสวายจีก ส่วนใหญ่จะเป็นหินภูเขาและเป็นที่ตั้งของโรงงานโม่หินหลายโรงงาน และมีแร่ที่สำคัญ คือ หินบะซอลต์และหินแกรนิต ทรัพยากรแหล่งน้ำ
ภายในตำบลสวายจีกมีล าห้วยที่สำคัญ ดังนี้ ล าห้วยตลาด ล าห้วยสะยาและล าห้วยตาแสง

1.3 ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ

1.3.1 การเกษตรกรรม
ลักษณะการประกอบอาชีพเกษตรกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสวายจีก ดังนี้
การเพาะปลูก ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสวายจีกมีการเพาะปลูกพืชที่สำคัญ คือ
การเพาะปลูกข้าว ซึ่งมีการเพาะปลูกมากกว่าพืชชนิดอื่น ๆ พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ราบจึงเหมาะแก่การปลูกข้าว นอกจากการปลูกข้าวแล้วยังมีการปลูกผักและผลไม้ด้วย
– การปศุสัตว์ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสวายจีก มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภคและ
จำหน่าย เช่น สุกร ไก่ เป็ด โค กระบือ ปลา ฯลฯ เป็นต้น

1.3.2 ลักษณะทางด้านสังคม
องค์การบริหารส่วนต าบลสวายจีก อ าเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ มีจ านวนหมู่บ้านในเขต
ปกครอง 19 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น 11,985 คน ประกอบด้วย ชาย 6,022 คน หญิง 5,963 คน จ านวนหลังคาเรือนทั้งสิ้น 3,350 ครัวเรือน

พื้นที่รับผิดชอบ หมู่ 1 บ้านสวายจีก ตำบลสวายจีก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

 

1.ประวัติความเป็นมา

หมู่1 บ้านสวายจีก มีขนาดใหญ่พอสมควร ที่ตั้งอยู่ในที่ตำบลสวายจีก อำเภอสวายจีก จังหวัดบุรีรัมย์ มีครัวเรือนทั้งหมด 178 ครัวเรือน จำนวนประชากร ทั้งหมด 736 คน อาชีพหลักๆของหมู่บ้าน คือ การทำเกษตรกร ชาวบ้านในชุนชนปลูกข้าวทำนาเป็นส่วนใหญ่ การเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ โค กระบือ   และรับจ้างทั่วไป ผลผลิตที่ได้ใช้เพื่อการบริโภคและจำหน่าย ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน คือการทำผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และ มีการทอผ้าไหมแต่มีการทอเป็นบางช่วงเท่านั้น แต่ปัจจุบันมีการทอที่น้อยลง

2.คณะกรรมการบริหาร

ผู้ใหญ่บ้าน

: นายช้อย อาญาเมือง เบอร์โทร 087-4596269

ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน

: นายวิระ กึงรัมย์

: นายอนุวัฒน์ อาญาเมือง

อสม.ประจำหมู่บ้าน ได้แก่

ชื่อ เบอร์โทร
1.      นางบันลัน วิเชียรรัมย์     ประธาน 091-1647435
2.      นางสำเนียง การัมย์             093-3635735
3.      นางสมพงษ์ อาญาเมือง
4.      นางจำปู อาญาเมือง
5.      นางสังวาลย์ ไกรสะรัมย์
6.      นางพรรณี เรื่อยรัมย์
7.      นางสะหวี  อาญาเมือง

3.จำนวนประชากร

มีครัวเรือนทั้งหมด 178 ครัวเรือน จำนวนประชากร ทั้งหมด 736 คน อาชีพหลักๆของหมู่บ้าน คือ การทำเกษตรกร ชาวบ้านในชุนชนปลูกข้าวทำนาเป็นส่วนใหญ่ การเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ โค กระบือ   และรับจ้างทั่วไป ผลผลิตที่ได้ใช้เพื่อการบริโภคและจำหน่าย ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน คือการทำผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และ มีการทอผ้าไหมแต่มีการทอเป็นบางช่วงเท่านั้น แต่ปัจจุบันมีการทอที่น้อยลง

ชาย 357 คน

หญิง 379 คน

อาชีพ เกษตรกร ทำนา ปลูกข้าว และปลูกผักสวนครัวไว้ใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน

 

4.จำนวนวัด

-ไม่มี

5.จำนวนโรงเรียน

-ไม่มี

6.พื้นที่ป่า

-ไม่มี

7.แหล่งน้ำ

-ไม่มี

8.สภาพภูมิอากาศ

สิ่งแวดล้อมแลพสภาพอากาศค่อนข้างร้อนจัด มีฝนตกเป็นบ้างช่วง

9.วัฒนธรรม

มีการพูดคุยกันอย่างมีมารยาท ในชุนชนได้มีการทำบุญหมู่บ้านประจำทุกปี มีการตักบาตร ได้จักการทำความสะอาดหมู่ทุกช่วงวันสำคัญ

10.ภูมิปัญญาเรื่องผ้าพื้นบ้าน

-ในช่วงปัจจุบันนี้ไม่มีคนทอผ้าไหมเลยในหมู่1 บ้านสวายจีก ตำบลสวายจีก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

 

11.ภูมิปัญญาทั่วไป

เรื่อง ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสมุนไพร

นางสำเนียง การัมย์ ที่อยู่ 37 หมู่1 บ้านสวายจีก ตำบลสวายจีก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

ผลผลิตที่ ชุนชนในสวายจีก หมู่ที่ บ้านสวายจีก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

รายชื่อนักเรียนประถมศึกษาบ้านสวายจีก หมู่ที่ 1 จำนวน 56 คน

ลำดับ ชื่อ – นามสกุล สถาบันการศึกษา โทรศัพท์
1 เด็กชายกิตติพล การเพียร โรงเรียนบ้านสวายจีก
2 เด็กชายชนดล เรื่อยรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
3 เด็กชายธีรัตน์ บวรรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
4 เด็กชายธีระพล การเพียร โรงเรียนบ้านสวายจีก
5 เด็กหญิงสุกัญญา อาญาเมือง โรงเรียนบ้านสวายจีก
6 เด็กหญิงนันธิสา กุมสูงเนิน โรงเรียนบ้านสวายจีก
7 เด็กหญิงชนกนันท์ พวงบุรี โรงเรียนบ้านสวายจีก
8 เด็กชายธวัฒน์ การัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
9 เด็กชายสุริยนต์ การัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
10 เด็กชายทวีศักดิ์ เลิศเสนา โรงเรียนบ้านสวายจีก
11 เด็กชายศรีละเดช เรื่อยรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
12 เด็กชายชัยวัฒน์ ไกรรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
13 เด็กชายณัฐนนท์ เพ็ชรเลิศ โรงเรียนบ้านสวายจีก
14 เด็กหญิงทพาวดี จารัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
15 เด็กชายชญานนท์ นิเรืองรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
16 เด็กชายธีรยุทธ จันสุวรรณ์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
17 เด็กชายนรากร เพ็ชรเลิศ โรงเรียนบ้านสวายจีก
18 เด็กชายอัครเดช กุมสูงเนิน โรงเรียนบ้านสวายจีก
19 เด็กหญิงพัชรินทร์ กาละสิรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
20 เด็กหญิงมินตรา อุ่นรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
21 เด็กหญิงณัฐณิชา รอยดี โรงเรียนบ้านสวายจีก
22 เด็กหญิงสวรรยา สันทาลุนัย โรงเรียนบ้านสวายจีก
23 เด็กหญิงเบญญาภากระซือรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
24 เด็กหญิงพิชชาภา ศิริปรุ โรงเรียนบ้านสวายจีก
25 เด็กหญิงอโรชา รวมธรรม โรงเรียนบ้านสวายจีก
26 เด็กชายกลธีร์ บำรุงนาม โรงเรียนบ้านสวายจีก
27 เด็กชายภูผา กึนรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
28 เด็กหญิงโชติกา จิรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
29 เด็กชายอดิศักดิ์ ท้าวศรีชัย โรงเรียนบ้านสวายจีก
30 เด็กชายศิวัฒน์ การัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
31 เด็กชายคุณานนท์ มุ้งเขื่อนกลาง โรงเรียนบ้านสวายจีก
32 เด็กหญิงณิชาภัทร จิรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
33 เด็กหญิงพรธิวา เรื่อยรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
34 เด็กหญิงณิยา โชติกิ่ง โรงเรียนบ้านสวายจีก
35 เด็กชายสุรัตน์ พงษ์ภมร โรงเรียนบ้านสวายจีก
36 เด็กชายเปรมนคร ขุ่ยภูมี โรงเรียนบ้านสวายจีก
37 เด็กชายกฤตภัทร เพ็ชรเลิศ โรงเรียนบ้านสวายจีก
38 เด็กชายชยาทิตย์ จารัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
39 เด็กชายสายชล วิโสรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
40 เด็กชายภานุวัฒน์ ชัยจุมพล โรงเรียนบ้านสวายจีก
41 เด็กชายอธิคม ศิริปรุ โรงเรียนบ้านสวายจีก
42 เด็กหญิงชุติมา พวงบุรี โรงเรียนบ้านสวายจีก
43 เด็กชายอัครพล วงค์ปิน โรงเรียนบ้านสวายจีก
44 เด็กชายวิทย์วัชฒ์ แก้วศรี โรงเรียนบ้านสวายจีก
45 เด็กชายวุฒิไกร การเพียร โรงเรียนบ้านสวายจีก
46 เด็กหญิงคุณิสา พุ่มมาลา โรงเรียนบ้านสวายจีก
47 เด็กหญิงชนกนาถ แก้วชนะ โรงเรียนบ้านสวายจีก
48 เด็กหญิงนัทมน มงคล โรงเรียนบ้านสวายจีก
49 เด็กหญิงภัทรพร พัดเกิด โรงเรียนบ้านสวายจีก
50 เด็กชายชนพล กึนรัมย์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
51 เด็กชายสุทธิภัทร จันทร์จำรัส โรงเรียนบ้านสวายจีก
52 เด็กชายปุรุเมธ อาจทวีกุล โรงเรียนบ้านสวายจีก
53 เด็กชายสุทธิพจน์ จันทร์จรัส โรงเรียนบ้านสวายจีก
54 เด็กหญิงขวัญจิรา จันสุวรรณ์ โรงเรียนบ้านสวายจีก
55 เด็กหญิงสุพรรณษา ปัญญางาม โรงเรียนบ้านสวายจีก
56 เด็กหญิงวรรณฤดี ไชยโย โรงเรียนบ้านสวายจีก

 

บัณฑิตจบใหม่ในบ้านสวายจีก หมู่ที่ 1 จำนวน 8 คน

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล สถาบันศึกษา เบอร์โทรศัทพ์
1 นางสาวดวงสุดา การัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ 094-5075262
2 นางสาวปรียานุช ขยันดี มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ 062-9958108
3 นางสาวนิตยา ทรงราศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์
4 นางสาวสริยา ขยันดี มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ 063-3863200
5 นางสาวสุพรรณษา กระโชรัมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ 094-7468470
6 นางสาวพรสุดา แก้วชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ 086-8936279
7 นายเอกชัย กระเชือมรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
8 นางสาวพุทธิดา อุตสาห์รัมย์ มหาวทยาลัยมหาสารคาม 093-6061288

องค์ความรู้ที่ได้รับ

ได้ปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ให้ชุมชน และได้เห็นความสามัคคีที่ช่วยเหลือกันในการปฏิบัติงานด้รับความรู้เรื่องประวัติความเป็นมา วิถีชีวิต วัฒธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ของตำบลสวายจีก

อื่นๆ

เมนู